ด้าน WIL
ประเด็น การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตเพื่อการการเรียนรู้และบูรณาการการเรียนกับการปฏิบัติงาน
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน : ( ครั้งที่ 1 ) | |||
วันที่ 30 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2560 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมคณะบริหารและการจัดการ | |||
ลำดับที่ | อาจารย์ | ประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ | |
1 | อาจารย์ ดร.กฤษณะ ดาราเรือง | การระดมความร่วมมือจากภาครัฐภาคเอกชนองค์กรระหว่างประเทศที่เป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการ | |
2 | อาจารย์วิรัช กาฬภักดี | การพัฒนาทุนมนุษย์สู่สังคมแห่งการเรียนรู้ลอดชีวิตอย่างยั้งยืน | |
3 | อาจารย์วันเกษม สุขะพิบูลย์ | การส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันของนักศึกษาและบุคลากรทางการศึกษากับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง | |
4 | อาจารย์มัจรี สุพรรณ | การอบรมบรรยายพิเศษในหัวข้อ “ความเชื่อมันและการสร้างสรรค์ไอเดียสำหรับนักศึกษา Gen Y” โดยทีมวิทยากรจากกลุ่ม YE นครสวรรค์ | |
5 | อาจารย์อัจจิมา สมบัติปัน | การเรียนรู้วิธีการ กระบวนการ การผลิตสินค้า ตั้งแต่การจัดหาสัตถุดิบ การคิดค่าแรงงาน ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการผลิต โดยออกศึกษาข้อมูลจากวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนครสวรรค์ | |
6 | อาจารย์สรพงษ์ ศรีเดช | การส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการปฏิบัติงาน | |
7 | อาจารย์เรวดี วงษ์วัฒนะ | การที่นักศึกษามีสถานประกอบการรองรับสำหรับการออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา | |
สรุปประเด็น
- นอกจากการจัดกาเรียนการสอนที่มุ่นเน้นสหกิจหรือ Wil แล้ว การจะได้ประโยชน์อย่างแท้จริงการวิเคราะห์สถานประกอบการที่นักศึกษาจะออกปฏิบัติงานก็สำคัญ เพราะถ้าออกไปแล้วนักศึกษาต้องได้รับประสบการณ์ที่แท้จริง
- ข้อมูลหน่วยงานหรือสถานประกอบการก็สำคัญอย่างน้อยก็จะเป็นพื้นฐานข้อมูลให้หลักสูตรทราบได้ว่าหน่วยงานหรือสถานประกอบการใดที่นักศึกษาไปแล้วได้รับประโยชน์
การที่หน่วยงานมอบหมายงานให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ ทั้งงาน และโครงการ ก็มาจากความเข้าใจของสถานประกอบการด้วย เพราะถ้าสถานประกอบการเข้าใจวัตถุประสงค์แล้วการมอบหมายงานหรือโครงงานก็จะเป็นประโยชน์