ด้านบริการวิชาการ
ประเด็น การบูรณาการการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน : (ครั้งที่ 10)
วันที่ 10 เดือน มีนาคม พ.ศ.2561 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมประเสริฐเสวนา
ลำดับที่ | อาจารย์ | ประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ | ||
1 | อาจารย์สุกัญญา หนองกาวี | หลังการฝึกอบรมผู้รับบริการวิชาการจะต้องทำแบบทดสอบหลังการฝึกอบรมอีก 1 ครั้ง และนำผลคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อประเมินผลความสำเร็จของการให้บริการวิชาการ | ||
2 | อาจารย์ปานทิพย์ แสนสง | เมื่อมีการให้บริการทางวิชาการแล้ว เกิดผลลัพธ์ที่ดีอย่างไรควรนำองค์ความรู้เหล่านั้นกลับมาพัฒนาหรือบูรณาการกับการเรียนการสอนหรืองานวิจัยที่ดีได้ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในการนำไปปรับปรุงและพัฒนากระบวนการที่เกี่ยวข้องต่อไป | ||
3 | อาจารย์เนาวรัตน์ ปิ่นอำนาจ |
|
||
4 | อาจารย์ทิพย์สุดา คงเมือง | ร่วมกับชุมชนเสนอแนวทางในการวางแผนธุรกิจชุมชนของธุรกิจใหม่ที่จะทำรายได้เข้าสู่ชุมชนร่วมกันพิจารณาธุรกิจอื่นๆเทคนิคในการสอนควรใช้คำง่ายๆอธิบายให้เข้าใจหรือกรณีศึกษามาประกอบ | ||
5 | อาจารย์อภิญญา โกราหะนะ | ความรู้ที่ได้รับจากการบริการวิชาการหรือประเด็นปัญหาจากการบริการวิชาการ สามรถนำมาใช้กรณีศึกษาให้กับนักศึกษาได้เรียนรู้ในชั้นเรียนได้ | ||
6 | อาจารย์ฉัตรชัย ทศสอาด | – ติดตามผลในโครงการบริการวิชาการมาศึกษาหาปัญหาว่าการแก้ไขที่ผ่านมาตรงตามประสงค์ ที่กลุ่มเป้าหมาย | ||
7 | อาจารย์อัจจิมา สมบัติปัน | หลักสูตรบริการวิชาการควรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดความต่อเนื่อง และยั่งยืนไม่ควรเปลี่ยนชุมชนที่จะไปบริการวิชาการบ่อยๆเพราะจะทำให้องค์ความรู้ไม่ต่อเนื่องชุมชนไม่เข้มแข็ง | ||
8 | อาจารย์วิภารัตน์ แสนแก้ว | ในการบริการวิชาการนั้นมีการให้นักศึกษาประเมินตนเองว่านักศึกษาได้อะไรจากบริการวิชาการนักศึกษามีความร่วมมือมีองค์ความรู้ที่ได้รับมาเพื่อนำมารวบรวมเป็นองค์ความรู้เป็นข้อมูลในการถ่ายทอดมาสอนให้แก่ชุมชนสังคมที่ต้องการรับบริการวิชาการ | ||
9 | อาจารย์เยาวเรศ กาฬภักดี | ตัวอย่างการบูรณาการกับโครงการ
โครงการบริการวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ต่อสังคม โดยจัดกิจกรรมตรวจสภาพคอมพิวเตอร์ให้กับชุมชน เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการกับการพัฒนาในรายวิชาโครงสร้างคอมพิวเตอร์และรายวิชาระบบปฏิบัติการ |
||
10 | อาจารย์อุทัยวรรณ แก้วตะคุ | ตัวอย่างการบูรณาการกับโครงการ
โครงการบริการวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ต่อสังคม โดยจัดกิจกรรมตรวจสภาพคอมพิวเตอร์ให้กับชุมชน เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการกับการพัฒนาในรายวิชาโครงสร้างคอมพิวเตอร์และรายวิชาระบบปฏิบัติการ |
||
11 | อาจารย์รุจิตรา ตายอด | โครงการบริการวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ต่อสังคม โดยจัดกิจกรรมตรวจสภาพคอมพิวเตอร์ให้กับชุมชน เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการกับการพัฒนาในรายวิชาโครงสร้างคอมพิวเตอร์และรายวิชาระบบปฏิบัติการ | ||
12 | อาจารย์ศศิภา ตรงต่อมิตร | ตัวอย่างการบูรณาการกับโครงการ
โครงการบริการวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ต่อสังคม โดยจัดกิจกรรมตรวจสภาพคอมพิวเตอร์ให้กับชุมชน เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการกับการพัฒนาในรายวิชาโครงสร้างคอมพิวเตอร์และรายวิชาระบบปฏิบัติการ |
||
13 | อาจารย์อรวรรณ สุขสอาด | บริการวิชาการ เรื่องกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ใช้ประชาชนชุมชนได้ทราบเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายต่างๆเกี่ยวกับ Social ต่างๆในปัจจุบันโดยทำเป็นหน้าที่ขนาดเล็ก เพื่อให้ประชาชนสามรถเก็บไว้อ่านหนังสือเหล่านั้นมาบูรณาการวิชาการการเรียนการสอนได้โดยมีเรื่องกฎหมายเข้ามาใช้ |
สรุปประเด็น
- เมื่อมีการให้บริการทางวิชาการแล้ว เกิดผลลัพธ์ที่ดีอย่างไรควรนำองค์ความรู้เหล่านั้นกลับมาพัฒนาหรือบูรณาการกับการเรียนการสอนหรืองานวิจัยที่ดีได้ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในการนำไปปรับปรุงและพัฒนากระบวนการที่เกี่ยวข้องต่อไป
- หลังการฝึกอบรมผู้รับบริการวิชาการจะต้องทำแบบทดสอบหลังการฝึกอบรมอีก 1 ครั้ง และนำผลคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อประเมินผลความสำเร็จของการให้บริการวิชาการ
- หลักสูตรบริการวิชาการควรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดความต่อเนื่อง และยั่งยืนไม่ควรเปลี่ยนชุมชนที่จะไปบริการวิชาการบ่อยๆเพราะจะทำให้องค์ความรู้ไม่ต่อเนื่องชุมชนไม่เข้มแข็ง