ด้านบริการวิชาการ
ประเด็น การบูรณาการการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน : (ครั้งที่ 12)
วันที่ 22 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2561 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมประเสริฐเสวนา
ลำดับที่ | อาจารย์ | ประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ | |
1 | อาจารย์สุกัญญา หนองกาวี | นำองค์ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการให้บริการวิชาการแก่หน่วยงาน มาเป็นกรณีศึกษารวมถึงคู่มือการใช้โปรแกรม MS-Office นำมาเป็นเอกสารประกอบการสอนในรายวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศต่อไป | |
2 | อาจารย์ปานทิพย์ แสนสง | บุคลการทุกคนควรมีส่วนร่วมในการออกให้บริการวิชาการทั้งระดับคณะวิชาหรือสถาบันฯ เพราะเป็นการแสดงออกถึงศักยภาพด้านวิชาการในศาสตร์วิชาการนั้นๆ และสำคัญคือการนำทฤษฏีไปใช้ปฏิบัติจริงเกิดผลลัพธ์จริง เจอสถานการณ์จริง และทุกครั้งต้องมีการวัดและประเมินผล KPI ในเชิงสถิติเพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมจากการดำเนินงาน | |
3 | อาจารย์เนาวรัตน์ ปิ่นอำนาจ |
|
|
4 | อาจารย์ทิพย์สุดา คงเมือง | ร่วมกันประเมินผลจากการบริการวิชาการอีกครั้งเพื่อที่จะนำมาปรับใช้ในอนาคตแสดงตัวอย่างอย่างต่อเนื่องในชุมชนเดียวจนทำให้ชุมชนจะเลี้ยงตนเองและดำเนินการเองได้เป็นชุมชนต้นแบบให้กับชุมชนอื่นได้ | |
5 | อาจารย์อภิญญา โกราหะนะ | แนวทางการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะนำมาปรับปรุงในการจัดโครงการครั้งต่อไป เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น | |
6 | อาจารย์อัจจิมา สมบัติปัน | นำปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะมาสังเคราะห์เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา โดยให้ฯกศึกษามีส่วนร่วมระบุปัจจัยที่มีผลกระทบและการดำเนินการดังกล่าวชุมชนได้อะไร อาจารย์ได้อะไร อาจารย์ผู้สอนได้อะไร ผู้เรียนได้อะไร จาการบริการวิชาการสู่ชุมชน | |
7 | อาจารย์วิภารัตน์ แสนแก้ว | นำปัญหาที่พบเช่นการถ่ายภาพของนักศึกษาอาจทำให้ผู้รับบริการไม่เข้าใจในสิ่งสอนอย่างถูกต้องทั้งอาจารย์ก็ควรนำมาปรับปรุงโดยการแนะนำเทคนิควิธีการถ่ายทอดการสอนให้กับนักศึกษาในเวลาที่นักศึกษาเรียนในแต่ละรายวิชาให้มากขึ้นเพื่อเป็นการฝึกทักษะการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษามีทักษะการถ่ายทอดที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น | |
8 | อาจารย์ฉัตรชัย ทศสอาด | – สรุปโครงการบริการวิชาการต่างๆ ที่ผ่านมา เพื่อหาผลที่ได้รับ รวมถึงการนำองค์ความรู้ที่มี
– ในรายวิชาไปจัดการปัญหา ของกลุ่มเป้าหมาย และหาแนวทางในการพัฒนาในครั้งต่อไป |
|
9 | อาจารย์เยาวเรศ กาฬภักดี | มุ่งเสริมสร้างการพัฒนา เผยแพร่ความรู้ ฝึกทักษะเชิงวิชาการหรือวิชาชีพ แก่ชุมชน ท้องถิ่นหรือสังคม | |
10 | อาจารย์อุทัยวรรณ แก้วตะคุ | การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน
1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนการสอน 2. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความอยู่รอด 3. เป็นการลงทุนในต้นทุนมนุษย์ ในการพัฒนาความสามารถที่จะแบ่งปันความรู้ที่ได้เรียนรู้มาให้กับคนอื่นๆ ในองค์กร และนำความรู้ไปปรับใช้กับงานที่ทำอยู่ให้เกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น เป็นการการพัฒนาคน และพัฒนาองค์กร 4. ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการตัดสินใจและวางแผนดำเนินงานให้รวดเร็ว และดีขึ้น เพราะมีสารสนเทศ หรือแหล่งความรู้เฉพาะที่มีหลักการ เหตุผล และน่าเชื่อถือช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ 5. ผู้บังคับบัญชาสามารถทำงานเชื่อมโยงกับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ใกล้ชิดกันมากขึ้น ช่วยเพิ่มความกลมเกลียวในหน่วยงาน 6. เมื่อพบข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน ก็สามารถหาวิธีแก้ไขได้ทันท่วงที 7. แปรรูปความรู้ให้เป็นทุน ซึ่งเป็นการสร้างความท้าทายให้องค์กรบัณฑิตจากความรู้ที่มี เพื่อเพิ่มคุณค่า และประสิทธิภาพให้กับการเรียนการสอน 8. เพื่อการสร้างสรรค์ และบรรลุเป้าหมายของจินตนาการที่ยิ่งใหญ่ เปลี่ยนวัฒนธรรม จาก วัฒนธรรมอำนาจในแนวดิ่ง ไปสู่วัฒนธรรมความรู้ในแนวราบ ของทุกคนมีสิทธิในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน |
|
11 | อาจารย์รุจิตรา ตายอด | เพื่อการสร้างสรรค์ และบรรลุเป้าหมายของจินตนาการที่ยิ่งใหญ่
เปลี่ยนวัฒนธรรม จาก วัฒนธรรมอำนาจในแนวดิ่ง ไปสู่วัฒนธรรมความรู้ในแนวราบ ของทุกคนมีสิทธิในการเรียนรู้เท่าเทียมกัน |
|
12 | อาจารย์ศศิภา ตรงต่อมิตร | การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน
1. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการเรียนการสอน 2. เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและความอยู่รอด 3. เป็นการลงทุนในต้นทุนมนุษย์ ในการพัฒนาความสามารถที่จะแบ่งปันความรู้ที่ได้เรียนรู้มาให้กับคนอื่นๆ ในองค์กร และนำความรู้ไปปรับใช้กับงานที่ทำอยู่ให้เกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น เป็นการการพัฒนาคน และพัฒนาองค์กร
|
|
13 | อาจารย์อรวรรณ สุขสอาด | เราสามารถนำเนื้อหา/ความรู้ ที่ไปบริการวิชาการได้นำมาบูรณาการกับการเรียนการสอนจะทำให้ การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ และเป็นสื่อการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น |
สรุปประเด็น
- บุคลการทุกคนควรมีส่วนร่วมในการออกให้บริการวิชาการทั้งระดับคณะวิชาหรือสถาบันฯ เพราะเป็นการแสดงออกถึงศักยภาพด้านวิชาการในศาสตร์วิชาการนั้นๆ และสำคัญคือการนำทฤษฏีไปใช้ปฏิบัติจริงเกิดผลลัพธ์จริง เจอสถานการณ์จริง และทุกครั้งต้องมีการวัดและประเมินผล KPI ในเชิงสถิติเพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมจากการดำเนินงาน
- นำปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะมาสังเคราะห์เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา โดยให้ฯกศึกษามีส่วนร่วมระบุปัจจัยที่มีผลกระทบและการดำเนินการดังกล่าวชุมชนได้อะไร อาจารย์ได้อะไร อาจารย์ผู้สอนได้อะไร ผู้เรียนได้อะไร จาการบริการวิชาการสู่ชุมชน
- การจัดกิจกรรมบริการวิชากับการเรียนการสอน ไม่จำเป็นต้องจัดทาในรายวิชาเดียวแต่อาจจะจัดกิจกรรมที่รวมศาสตร์ของรายวิชาในสาชาวิชาอื่นมาประยุกต์ร่วมกัน โดยผู้สอนของแต่ละสาขาวิชาควรประชุมร่วมกันและพิจารณาว่ารายวิชาอะไรบ้างที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยสามารถมาบูรณาการร่วมกันได้ เพื่อให้เกิดองค์ความที่บูรณาการร่วมกันของแต่ละศาสตร์ และยังทาให้นักศึกษาได้เห็นถึงองค์ความรู้ในศาสตร์อื่นๆ และนามาบูรณาการร่วมกับในสาขาวิชาชีพของตนเองได้