การสร้างคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับบัณฑิตในคณะรัฐศาสตร์

การสร้างคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับบัณฑิตในคณะรัฐศาสตร์
1) วัตถุประสงค์
-เพื่อหล่อหลอมให้เกิดความผูกพันในชีวิตความเป็นนักศึกษา และประเมินผลการศึกษาแบบองค์รวมก่อนที่จะจบการศึกษาเป็นรัฐศาสตร์บัณฑิต
– เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้สอดคล้องกับทฤษฎีหรือวิชาการที่ได้ศึกษามา
– เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ทั้งภายนอกคือพฤตินิสัย กับภายในคือคุณธรรมและจริยธรรม สาหรับใช้ในการปฏิบัติตนและปฏิบัติหน้าที่
2) ใครคือนักรัฐศาสตร์ เช่น ผู้ที่มีอาชีพทางการเมือง การปกครอง การบริหาร ผู้ที่มางานเพื่อสังคมส่วนรวม ผู้ที่ต้องการพัฒนาตนให้เป็นผู้นำ
3) คุณธรรม/จริยธรรม ที่จำเป็นสำหรับนักรัฐศาสตร์
– แนวคลาสสิก -ความรู้ -ความซื่อสัตย์ -ความกล้าหาญ -ความยุติธรรม
– แนวพุทธ -ศีล 5 -นววาท -อิทธิบาท 4 -สังคหวัตถุ 4 -สัปปุริสธรรม 7 -พุทธวัจนะ -จักรวรรดิวัตร ทศพิธราชธรรม -พุทธธรรม
-แนวไทย -หลักอาวุโส -ความอ่อนน้อมถ่อมตน -ความกตัญญู -ความเมตตา -ความโอบอ้อมอารี -ความเป็นมิตร -ความสมถะ -ความมัธยัสถ์ -ความเพียร
– แนวสมัยใหม่ -การแข่งขัน –ความสำเร็จ -ความสุข -ความพอใจ -ความเป็นตัวของตัวเอง -ความเชื่อมั่น -ความทะเยอทะยาน -การเรียนรู้ -จิตอาสา
4) กิจกรรมทางรัฐศาสตร์ -กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ -กิจกรรมเตรียมความพร้อมในห้องเรียน-กิจกรรมวิชาการ -กิจกรรมเสริมการให้คำปรึกษา -การประเมินผล
5) ตัวอย่างการเชื่อมโยงคุณธรรมกับจริยธรรม คุณธรรม/จริยธรรม -กิจกรรม ความพร้อมเพียง/ความเป็นหมู่คณะ การนัดหมาย/การร่วมประชุม ระเบียบวินัย/ความร่วมมือ พิธีเปิด/พิธีปิด/กิจกรรมกลุ่มต่างๆ ความเสียสละ/จิตอาสา/จิตสาธารณะ การเลือกประธานกลุ่ม/การแบ่งงาน ความกล้าหาญ/ความเพียร/ความอดทน การแสดงออก/งานเดี่ยว/งานกลุ่ม ความรู้/ความสามารถ/ทักษะต่างๆ การประเมินผล/การสังเกต

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *