KM-AS-9 ด้านบริการวิชาการ ประเด็น การบูรณาการการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน

ด้านบริการวิชาการ

ประเด็น การพัฒนาคุณภาพเพื่อการเรียนรู้และบูรณาการการบริการวิชาการ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน : (ครั้งที่ 9)

วันที่ 24 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมประเสริฐเสนา

ลำดับที่ อาจารย์ ประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1 อาจารย์สุกัญญา หนองกาวี      ดำเนินการให้บริการวิชาการ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติเพื่อสร้างความคุ้นเคยในการใช้โปรแกรมให้เกิดความเชี่ยวชาญสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานในองค์กรได้จริง
 2 อาจารย์ปานทิพย์ แสนสง      บุคลากรที่จะออกให้ความรู้ ต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นอย่างแท้จริง และสำคัญต้องเป็นผู้ที่มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีด้วย เพราะต้องสัมพันธ์กับชุมชนหรือชาวบ้าน การนำเครื่องมือที่ทันสมัย เช่น สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็จะทำให้เห็นถึงความทันสมัยแต่ก็ต้องระวังเรื่องทักษะของสมาชิกในชุมชนนั้นเพราะถ้าใช้สื่อหรือใช้ศัพท์ทางเทคนิคมากเกินไปก็ยากต่อการเข้าถึงข้อมูลและความรู้ต่างๆ
3 อาจารย์เนาวรัตน์ ปิ่นอำนาจ
  แนวทางการพัฒนางานบริการวิชาการ

1.พัฒนาแนวทางการจัดทาโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการกับการเรียนการสอน โดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

2.ส่งเสริมและกระตุ้นให้อาจารย์นาประสบการณ์และความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการมาใช้พัฒนาในการเรียนการสอนให้เพิ่มมากขึ้น

3.จัดทาแนวทางในการประเมินผลความสาเร็จจากการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการกับการเรียนการสอน และการประเมินผลความสาเร็จจากการนาประสบการณ์และความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการมาใช้พัฒนาในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

4. มีระบบการติดตาม เผยแพร่และส่งเสริมศักยภาพของชุมชนในการนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการไปใช้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

5. มีการติดตามผลภายหลังที่ชุมชนมีการดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการจัดโครงการเพิ่มเติมเพื่อติดตามประเมินผลการดาเนินงานและความต่อเนื่องยั่งยืน

4 อาจารย์ทิพย์สุดา คงเมือง      นักศึกษาและอาจารย์ประจำหลักสูตรวิเคราะห์ปัญหาด้วยกันและนำมาปรับใช้ในครั้งต่อไปเพื่ออาจจะเป็นการเพิ่มเติมหลักสูตรในปีการศึกษาถัดไป

 

5 อาจารย์อภิญญา โกราหะนะ       ลงพื้นที่ให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ตามเป้าหมายที่วางไว้ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
6 อาจารย์อัจจิมา สมบัติปัน      การที่ออกบริการวิชาการเราไม่ได้ไปให้ความรู้ชุมชนอย่างเดียว ผู้สอนพานักศึกษาไปหาความรู้ใหม่ๆจากชุมชนเช่นกัน
7 อาจารย์วิภารัตน์ แสนแก้ว       จากการวิเคราะห์จากนักศึกษานักศึกษาเลือกเทคนิคการสอนการถ่ายทอดความรู้หลักสูตรที่ตั้งไว้โดยแบ่งการสอนเกี่ยวกับเครื่องมือเทคนิคการถ่ายภาพการพูดเสียงท่าทางเป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ชุมชนหรือผู้รับการบริการได้ปฏิบัติจริงเจอปัญหาจริงเพื่อให้แก้ไขเฉพาะหน้าได้โดยการลงมือปฏิบัติกับผู้มีประสบการณ์ผู้ได้รับบริการจึงสามารถแก้ไขปัญหาแนะนำได้ในทันที

จากการวิเคราะห์จากนักศึกษานักศึกษาเลือกเทคนิคการสอนการถ่ายทอดความรู้หลักสูตรที่ตั้งไว้โดยแบ่งการสอนเกี่ยวกับเครื่องมือเทคนิคการถ่ายภาพการพูดเสียงท่าทางเป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ชุมชนหรือผู้รับการบริการได้ปฏิบัติจริงเจอปัญหาจริงเพื่อให้แก้ไขเฉพาะหน้าได้โดยการลงมือปฏิบัติกับผู้มีประสบการณ์ผู้ได้รับบริการจึงสามารถแก้ไขปัญหาแนะนำได้ในทันทีทัน จากการวิเคราะห์จากนักศึกษานักศึกษาเลือกเทคนิคการสอนการถ่ายทอดความรู้หลักสูตรที่ตั้งไว้โดยแบ่งการสอนเกี่ยวกับเครื่องมือเทคนิคการถ่ายภาพการพูดเสียงท่าทางเป็นการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ชุมชนหรือผู้รับการบริการได้ปฏิบัติจริงเจอปัญหาจริงเพื่อให้แก้ไขเฉพาะหน้าได้โดยการลงมือปฏิบัติกับผู้มีประสบการณ์ผู้ได้รับบริการจึงสามารถแก้ไขปัญหาแนะนำได้ในทันที

 

8 อาจารย์ฉัตรชัย ทศสอาด   –  นำปัญหามาศึกษาเพื่อจัดโครงการบริการวิชาการแก้ไขปัญหา  และนำองค์ความรู้จากหลายๆศาสตร์ มาบูรณาการร่วมกัน
 9 อาจารย์เยาวเรศ กาฬภักดี      ส่งเสริมให้ชุมชนหรือสังคมใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของมหาวิทยาลัย เป็นแหล่งเรียนรู้และ อ้างอิงทางวิชาการ
10 อาจารย์อุทัยวรรณ แก้วตะคุ แนวทางการพัฒนางานบริการวิชาการ

1.       พัฒนาแนวทางการจัดทาโครงการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการกับการเรียนการสอน โดยใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

2.       ส่งเสริมและกระตุ้นให้อาจารย์นาประสบการณ์และความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการมาใช้พัฒนาในการเรียนการสอนให้เพิ่มมากขึ้น

3.       จัดทาแนวทางในการประเมินผลความสาเร็จจากการบริการวิชาการที่มีการบูรณาการกับการเรียนการสอน และการประเมินผลความสาเร็จจากการนาประสบการณ์และความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการมาใช้พัฒนาในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

4.       มีระบบการติดตาม เผยแพร่และส่งเสริมศักยภาพของชุมชนในการนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการวิชาการไปใช้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

มีการติดตามผลภายหลังที่ชุมชนมีการดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีการจัดโครงการเพิ่มเติมเพื่อติดตามประเมินผลการดาเนินงานและความต่อเนื่องยั่งยืน

11 อาจารย์รุจิตรา ตายอด พัฒนา ปรับปรุงตามผลงานจากการติดตามประเมินผล

1.       นำผลที่ได้จากการวิเคราะห์มาวางแผนในการธำรงรักษาการบริการวิชาการไว้

2.       จัดทำแผนในการพัฒนาการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน การพัฒนาความต้องการที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย

3.       กำหนดตัวชี้วัดแผนพัฒนาการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน ที่สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัย

12 อาจารย์ศศิภา ตรงต่อมิตร พัฒนา ปรับปรุงตามผลงานจากการติดตามประเมินผล

1.       นำผลที่ได้จากการวิเคราะห์มาวางแผนในการธำรงรักษาการบริการวิชาการไว้

2.       จัดทำแผนในการพัฒนาการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน การพัฒนาความต้องการที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย

3.       กำหนดตัวชี้วัดแผนพัฒนาการบูรณาการบริการวิชาการกับการเรียนการสอน ที่สอดคล้องกับเป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัยการบูรณาการระหว่างวิชา( Interdisciplinary Instruction )  เป็นการเชื่อมโยงหรือรวมศาสตร์ต่างๆตั้งแต่  2  สาขาวิชาขึ้นไปภายใต้หัวเรื่อง    (Theme )  เดียวกัน  เป็นการเรียนรู้โดยใช้ความรู้ความเข้าใจและทักษะในศาสตร์หรือความรู้ในวิชาต่างๆมากกว่า  1  วิชาขึ้นไป  เพื่อการแก้ปัญหาหรือการแสวงหาความรู้ความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การเชื่อมโยงความรู้และทักษะระหว่างวิชาต่างๆ  จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ลึกซึ้ง  ไม่ใช่เพียงผิวเผินและมีลักษณะใกล้เคียงกับชีวิตจริงมากที่สุด

13 อาจารย์อรวรรณ สุขสอาด    การวิเคราะห์และการจัดทำสรุปประเด็นต่างๆหรือความรู้ต่างๆที่ได้ออกไปรับบริการว่าสามารถนำมาใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างไร และทำแบบประเมินผลว่าสามารถบูรณาการได้หรือไม่เพราะอะไร แล้วเห็นภาพได้อย่างชัดเจนมายิ่งขึ้น

 

 

 

 

สรุปประเด็น

  1. ดำเนินการให้บริการวิชาการ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติเพื่อสร้างความคุ้นเคยในการใช้โปรแกรมให้เกิดความเชี่ยวชาญสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานในองค์กรได้จริง
  2. บุคลากรที่จะออกให้ความรู้ ต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นอย่างแท้จริง และสำคัญต้องเป็นผู้ที่มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีด้วย เพราะต้องสัมพันธ์กับชุมชนหรือชาวบ้าน การนำเครื่องมือที่ทันสมัย เช่น สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็จะทำให้เห็นถึงความทันสมัยแต่ก็ต้องระวังเรื่องทักษะของสมาชิกในชุมชนนั้นเพราะถ้าใช้สื่อหรือใช้ศัพท์ทางเทคนิคมากเกินไปก็ยากต่อการเข้าถึงข้อมูลและความรู้ต่างๆ

การดูแลบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ภายในสำนักงานมหาวิทยาลัยเจ้าพระยา

เป้าหมายของการจัดการความรู้  : เพื่อให้ผู้ใช้ทราบถึงขั้นตอนการดูแลบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เบื้องต้นภายในสำนักงานของตนเอง

ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดจากการนำ KM มาปรับใช้กับการปฏิบัติงาน  : เพื่อให้ผู้ใช้สามารถดูแลและบำรุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ภายในสำนักงานได้อย่างถูกต้อง

computer