ด้านสนับสนุนมหาวิทยาลัยเจ้าพระยา กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน Service Mind ในยุค 4.0 : ( ครั้งที่ 1 )

Service Mind ในยุค 4.0

ด้านสนับสนุนมหาวิทยาลัยเจ้าพระยา

ประเด็น  การนำระบบ QR Code มาให้บริการ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน : ( ครั้งที่  1 )
วันที่  20  เดือน  กรกฎาคม  พ.ศ.  2561  เวลา 13.30 น.  ณ สำนักวิทยบริการ  ชั้น 2

การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) หน่วยงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา

KM 2560 แนวปฏิบัติที่ดี การพัฒนาการผลิตผลงานทางวิชาการ/งานวิจัยให้มี Impact

แนวปฏิบัติที่ดี

การพัฒนาการผลิตผลงานทางวิชาการ/งานวิจัยให้มี Impact

 

จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ประเด็นการพัฒนาการผลิตผลงานทางวิชาการ/งานวิจัยเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่ในเวทีที่มี Impact สูงขึ้น นั้น ได้นำสรุปประเด็นและความรู้จากแหล่งต่างๆ ดังนี้

 

สรุปประเด็น   1) ก่อนลงมือทำงานวิจัยให้ศึกษาคำแนะนำ รูปแบบ หัวข้อ เอกสารอ้างอิง หรือบทบรรณานุกรม การจัดเตรียมต้นฉบับที่จะตีพิมพ์ผลงานวิจัย

2)  ผู้ผลิตต้องอ่านซ้ำ เขียนให้ชัดเจน ใช้คำกระชับ ไม่ฟุ่มเฟือย สื่อความหมายชัดเจน

3)  บทความอาจมีปรักแก้ไขบางผู้ผลิตต้องอดทน

4)  ติดตามการบริหารงานนโยบายการวิจัยและแผนพันธกิจด้านการวิจัย

5)  การทำงานวิจัย ต้องมีการรวบรวมงานวิจัยทางด้านข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลดิบเป็นสิ่งสำคัญ และเป็นฐานรากของโครงการวิจัย

 

สรุปประเด็น   1)  การวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลดิบกับข้อมูลใหม่ ประโยชน์จากการวิจัย และวัตถุประสงค์การวิจัย

2) การวิจัยระบุถึงสาระของประเด็นการวิจัยเพื่อตอบปัญหาการวิจัยอยู่ในรูปประโยคคำถาม

3)  การทบทวนวรรณกรรม การคัดเลือกเอกสารตามหัวข้อที่ผู้วิจัยสนใจมีสาระ ความคิด ข้อมูล และหลักฐานที่มีเป้าหมาย และแสดงความคิดเห็นตรงกับหัวข้อ

4)  การประมวลความคิดรวบยอด การทบทวนองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งประสบการณ์ และ          แนวความคิดของผู้วิจัยแบบจำลองในการวิจัย

 

 

สรุปประเด็น   1)  หลักการเขียนการวิจัยจะต้องรายงานตามความเป็นจริงจากข้อมูลและได้ วิเคราะห์ แปลความหมาย และไม่มีสิทธิ์ที่จะตัดทิ้งข้อมูลหรือเพิ่มเติมความคิดเห็นของตนเองในเนื้อข้อมูล

2) ส่วนของภาคความนำ มีความสำคัญ ความมุ่งหมายที่เกี่ยวข้อง มีขอบเขต , ประโยชน์ที่ได้รับ             วิธีการศึกษา และระเบียบวิธีวิจัย ส่วนของภาคเนื้อเรื่อง มีข้อเท็จจริง ผลการศึกษาที่ค้นพบแสดงการ วิเคราะห์ แปลผล และอภิปรายผล

3)         การวิจัยที่มุ่งเน้นผลการวิจัยเพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพิ่มคุณภาพ และการประเมินผลรูปแบบการวิจัยชนิดหนึ่ง

รายละเอียดเพิ่มเติม

KM 2560 แนวปฏิบัติที่ดีการบูรณาการการเรียนกับการปฏิบัติงาน /สหกิจศึกษา/WiL

แนวปฏิบัติที่ดี

การบูรณาการการเรียนกับการปฏิบัติงาน /สหกิจศึกษา/WiL

 

จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ประเด็นการบูรณาการการเรียนกับการปฏิบัติงาน/สหกิจศึกษา นั้น ได้นำสรุปประเด็นและความรู้จากแหล่งต่างๆ ดังนี้

 

สรุปประเด็น

  1. การพัฒนากระบวนการเรียนที่เรียนว่า WiL จะให้ประสบความสำเร็จได้นั้น ทุกภาคส่วนต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริง
  2. นอกจากความรู้ความเข้าใจในบริบทการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวแล้ว ต้องมีแผนปฏิบัติที่ชัดเจน เพื่อการเตรียมความพร้อมในแต่ละปีการศึกษา
  3. การพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับบริบทของภารงานที่จะต้องปฏิบัติก็สำคัญ อาจารย์นิเทศมีส่วนสำคัญที่จะสะท้อนข้อมูลให้หลักสูตรเพื่อให้เกิดการพัฒนานักศึกษาที่ตรงตามความต้องการดังกล่าว
  4. ทวิภาคี หรือผู้ที่มีส่วนได้เสียก็สำคัญ ต้องมีการระดมความร่วมมือจากภาครัฐภาคเอกชนองค์กร การพัฒนาทุนมนุษย์สู่สังคมแห่งการเรียนรู้และการส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันของนักศึกษา อาจต้องเชิญมาประชุมร่วมกัน
  5. หลักสูตรต้องวิเคราะห์ และประเมินผลการดำเนินงานทั้ง WiL และสกิจศึกษา จากประสบการณ์ที่ผ่านมา เพื่อการปรับปรุงพัฒนาที่ถูกต้อง หรือเป็นข้อเสนอเสนอให้กับหลักสูตรอื่นๆ ได้
  6. คณะต้องมีการกำกับการดำเนินงานของทุกหลักสูตรให้ดำเนินการเป็นไปตามแผนที่กำหนด และควรต้องมีการรายงานให้ทราบ

 

สรุปประเด็น

  1. นอกจากการจัดกาเรียนการสอนที่มุ่นเน้นสหกิจหรือ Wil แล้ว การจะได้ประโยชน์อย่างแท้จริงการวิเคราะห์สถานประกอบการที่นักศึกษาจะออกปฏิบัติงานก็สำคัญ เพราะถ้าออกไปแล้วนักศึกษาต้องได้รับประสบการณ์ที่แท้จริง
  2. ข้อมูลหน่วยงานหรือสถานประกอบการก็สำคัญอย่างน้อยก็จะเป็นพื้นฐานข้อมูลให้หลักสูตรทราบได้ว่าหน่วยงานหรือสถานประกอบการใดที่นักศึกษาไปแล้วได้รับประโยชน์
  3. การที่หน่วยงานมอบหมายงานให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ ทั้งงาน และโครงการ ก็มาจากความเข้าใจของสถานประกอบการด้วย เพราะถ้าสถานประกอบการเข้าใจวัตถุประสงค์แล้วการมอบหมายงานหรือโครงงานก็จะเป็นประโยชน์

รายละเอียดเพิ่มเติม

KM 2560 ด้าน WIL

ด้าน WIL

ประเด็น  การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตเพื่อการการเรียนรู้และบูรณาการการเรียนกับการปฏิบัติงาน

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน : ( ครั้งที่  1 )
วันที่  30  เดือน  มิถุนายน  พ.ศ.  2560  เวลา 13.30 น.  ณ ห้องประชุมคณะบริหารและการจัดการ
ลำดับที่ อาจารย์ ประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1 อาจารย์ ดร.กฤษณะ  ดาราเรือง การระดมความร่วมมือจากภาครัฐภาคเอกชนองค์กรระหว่างประเทศที่เป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการ
2 อาจารย์วิรัช  กาฬภักดี การพัฒนาทุนมนุษย์สู่สังคมแห่งการเรียนรู้ลอดชีวิตอย่างยั้งยืน
3 อาจารย์วันเกษม  สุขะพิบูลย์ การส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันของนักศึกษาและบุคลากรทางการศึกษากับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
4 อาจารย์มัจรี  สุพรรณ การอบรมบรรยายพิเศษในหัวข้อ “ความเชื่อมันและการสร้างสรรค์ไอเดียสำหรับนักศึกษา Gen Y” โดยทีมวิทยากรจากกลุ่ม YE นครสวรรค์
5 อาจารย์อัจจิมา  สมบัติปัน การเรียนรู้วิธีการ กระบวนการ การผลิตสินค้า ตั้งแต่การจัดหาสัตถุดิบ การคิดค่าแรงงาน ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการผลิต โดยออกศึกษาข้อมูลจากวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนครสวรรค์
6 อาจารย์สรพงษ์  ศรีเดช การส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนแบบบูรณาการกับการปฏิบัติงาน
7 อาจารย์เรวดี  วงษ์วัฒนะ การที่นักศึกษามีสถานประกอบการรองรับสำหรับการออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

 

สรุปประเด็น

  1. นอกจากการจัดกาเรียนการสอนที่มุ่นเน้นสหกิจหรือ Wil แล้ว การจะได้ประโยชน์อย่างแท้จริงการวิเคราะห์สถานประกอบการที่นักศึกษาจะออกปฏิบัติงานก็สำคัญ เพราะถ้าออกไปแล้วนักศึกษาต้องได้รับประสบการณ์ที่แท้จริง
  2. ข้อมูลหน่วยงานหรือสถานประกอบการก็สำคัญอย่างน้อยก็จะเป็นพื้นฐานข้อมูลให้หลักสูตรทราบได้ว่าหน่วยงานหรือสถานประกอบการใดที่นักศึกษาไปแล้วได้รับประโยชน์

การที่หน่วยงานมอบหมายงานให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ ทั้งงาน และโครงการ ก็มาจากความเข้าใจของสถานประกอบการด้วย เพราะถ้าสถานประกอบการเข้าใจวัตถุประสงค์แล้วการมอบหมายงานหรือโครงงานก็จะเป็นประโยชน์

รายละเอียดเพิ่มเติม

การจัดการความรู้ด้านการวิจัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เรื่อง การพัฒนาการผลิตผลงานวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ ครั้งที่ 2/2561

KM-HS-2561

KM 2560 ด้าน การวิจัย

ด้าน การวิจัย

ประเด็น  การผลิตผลงานทางวิชาการเพื่อการตีพิมพ์และเผยแพร่ในเวทีระดับชาติ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน : ( ครั้งที่  1 )
วันที่  30  เดือน  มิถุนายน  พ.ศ.  2560  เวลา 13.30 น.  ณ ห้องประชุมคณะบริหารและการจัดการ
ลำดับที่ อาจารย์ ประเด็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1 อาจารย์ ดร.กฤษณะ  ดาราเรือง ก่อนเริ่มต้นลงมือเขียนงานวิจัยให้ศึกษาคำแนะนำในการจัดทำวิจัยอย่างละเอียด และรอบคอบโดยเฉพาะรูปแบบการจัดพิมพ์ การเขียนหัวข้อต่างๆ การเขียนเอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม และจำนวน หน้าที่กำหนด และดำเนินการจัดเตรียมต้นฉบับตามรูปแบบของงานวิจัย
2 อาจารย์วิรัช  กาฬภักดี เมื่อเขียนบทความวิจัยแล้วเสร็จ ผู้ผลิตจะต้องอ่านด้วยตนเองซ้ำอีก หลาย ๆ รอบ พยายามเขียนให้ชัดเจน ใช้คำกระชับ ไม่ฟุ่มเฟือย สื่อความหมายชัดเจน
3 อาจารย์วันเกษม  สุขะพิบูลย์ การปรับแก้ไขบทความวิจัยบางครั้งต้องแก้ไขหลายรอบ ซึ่งผู้ผลิตผลงาน จะต้องใช้ความอดทน เพราะกระบวนการปรับแก้ไขก็เหมือนกับการพัฒนาความรู้ ความสามารถของผู้ผลิต ผลงานด้วยเช่นกัน
4 อาจารย์มัจรี  สุพรรณ เนื้อหาความรู้สำหรับนำมาเขียนต้องเป็นเรื่องที่มีสาระ ไม่ใช่เรื่องแต่งสมมติขึ้นเนื้อหาสำหรับนำมาเขียนบทความอาจได้มาจากหลายๆ วิธีรวมกัน
5 อาจารย์อัจจิมา  สมบัติปัน ติดตามการบริหารงานวิจัยให้เป็นไปตาม นโยบายการวิจัยและแผนพันธกิจด้านการวิจัยระดับชาติ
6 อาจารย์สรพงษ์  ศรีเดช เมื่อได้หัวข้อการทำงานวิจัยแล้ว ต้องมีการรวบรวมข้อมูลว่าก่อนหน้านี้ งานวิจัยทางด้านนี้ได้ทำการศึกษาเรื่องใดไปบ้าง และสามารถนำงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน รวมทั้งไว้อ้างอิงได้ เช่น ทางด้านคณิตศาสตร์ก็จะมี ทฤษฎีบท บทตั้ง และ ทฤษฎีบทประกอบ ซึ่งได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นจริงแล้ว สามารถนำมาอ้างอิงหรือนำมาเป็นฐานความรู้ต่อไปได้
7 อาจารย์เรวดี  วงษ์วัฒนะ ข้อมูลดิบเป็นสิ่งสำคัญ และเป็นฐานรากของโครงการวิจัยที่มีคุณภาพ

รายละเอียดเพิ่มเติม