แนวการปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย เรื่อง การเขียนงานวิจัยประเภทการวิจัยประยุกต์ที่มีคุณภาพ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา

แนวการปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย เรื่อง การเขียนงานวิจัยประเภทการวิจัยประยุกต์ที่มีคุณภาพ
สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
1) งานวิจัยคืออะไร เป็นเอกสารวิชาการที่ผู้วิจัยนาเสนอประเด็นที่มีความสำคัญ เป็นประโยชน์โดยมีระเบียบวิธีการศึกษาที่เป็นระบบ น่าเชื่อถือ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนาไปแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
2) ประเภทงานวิจัยดูจากประโยชน์งานวิจัย งานวิจัยแบบพื้นฐาน (basic research)หรืองานวิจัยบริสุทธิ์ (pure research) ประยุกต์ (applied research)
3) ที่มาของงานเขียนวิจัยเชิงประยุกต์ที่มีคุณภาพ งานวิจัยต้องมีคุณภาพ – มีความสำคัญ เป็นประโยชน์ – มีโจทย์วิจัยชัดเจน – มีกรอบความคิด (conceptual framework) ที่ชัดเจน เหมาะสม – มีระเบียบวิธีการศึกษาที่เหมาะสม น่าเชื่อถือ – ผู้วิจัยหรือคณะวิจัยมีความรู้ ความสามารถเพียงพอ – มีการเก็บ รวบรวมข้อมูลที่น่าเชื่อถือ – มีการวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิด – มีข้อค้นพบที่ตอบโจทย์ได้ชัดเจน เป็นรูปธรรม นาไปปฏิบัติได้ ผู้วิจัยหรือคณะวิจัยมีต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่ศึกษามาก่อน และมีความสามารถในการวิจัย มีการเขียนงานวิจัยตามโครงมาตรฐานงานวิจัยที่ถูกต้อง
4) การเขียนงานวิจัยตามโครงมาตรฐานงานวิจัย
1) บทนำ – ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง -โจทย์วิจัย -วัตถุประสงค์ -ขอบเขตการศึกษา -กรอบแนวคิดการศึกษา -ข้อจากัด -ระยะเวลาการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดจะได้รับ
2) บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3) บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา -กลุ่มตัวอย่างและวิธีการสุ่มตัวอย่าง -เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย – การรวบรวมข้อมูล – การวิเคราะห์ข้อมูล – สถิติที่ใช้ในการวิจัย (กรณีวิจัยเชิงปริมาณ)
4) บทที่ 4 บทวิเคราะห์ ตอบโจทย์และวัตถุประสงค์ของการศึกษาให้ครบถ้วนโดยนาเสนอในแต่ละประเด็นให้ชัดเจน มีการวิเคราะห์และข้อมูลสนับสนุน
5) บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ – สรุปโจทย์ วัตถุประสงค์ ระเบียบวิธีการศึกษา และผลการวิเคราะห์ – นาข้อค้นพบในบทที่ 4 มาอภิปรายโดยเทียบกับแนวคิด ทฤษฎีหรืองานวิจัยที่สำรวจในบทที่ 2 -จัดทำข้อเสนอแนะบนพื้นฐานการวิเคราะห์ในบทที่ ๔ โดยอาจแยกเป็นข้อเสนอแนะเชิง นโยบาย และข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติว่าจะนาไปปฏิบัติอย่างไร และหน่วยงานใดควรนาไปดาเนินการ – ข้อเสนอแนะในการศึกษาต่อไป เป็นการเสนอประเด็นที่เกี่ยวเนื่องจากการศึกษาครั้งนี้ เพื่อให้มีการศึกษาในโอกาสต่อไป 3
5) ข้อควรคำนึงในการเขียนงานวิจัยเชิงประยุกต์ -เขียนงานวิจัยโดยไม่มีอคติ ไม่มีธงในการวิจัยมาก่อน -เขียนงานวิจัยบนพื้นฐานข้อมูลที่มีอยู่จากการเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์เท่านั้น -นาเสนอสาระสำคัญของคาตอบโจทย์วิจัย/วัตถุประสงค์วิจัย -เขียนงานวิจัยให้กระชับ ตรงไปตรงมา ไม่ใช้สานวนหรือถ้อยคาหรือบัญญัติศัพท์ใหม่ที่ยาก แก่การเข้าใจเพื่อแสดงภูมิปัญญาผู้วิจัยมากเกินไป -ไม่เขียนข้อเสนอแนะเกินไปจากข้อมูลที่วิเคราะห์หรือข้อค้นพบ -เขียนข้อเสนอแนะให้ชัดเจน เป็นรูปธรรมและสามารถนาไปปฏิบัติได้จริง

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *