ผู้เขียน: adul.s
สรุปรายงานการดำเนินงานตาม แผนการจัดการความรู้
บันทึกการจัดการความรู้
>> บันทึกการจัดการความรู้ <<
การนำเสนอแผนการพัฒนา ปรับปรุงงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ประชุม: – การนำเสนอแผนการพัฒนา ปรับปรุงงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (ฝ่ายวิชาการ)
ประจำปีการศึกษา 2559
– แจ้งลำดับการนำเสนอแผนการพัฒนา ปรับปรุงงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2559
เป้าหมายของการจัดการความรู้: เพื่อให้มีบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ทุกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดจากการนำ KM มาปรับใช้กับการปฏิบัติงาน:เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ รวมถึงมีแนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงาน และเกิดการเรียนรู้แนวทางในการปฏิบัติงานต่อไป
แจ้งผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2558
ประชุม: แจ้งผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ประจำปีการศึกษา 2558
เป้าหมายของการจัดการความรู้: เพื่อให้มีบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ทุกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดจากการนำ KM มาปรับใช้กับการปฏิบัติงาน:เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ รวมถึงมีแนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงาน และเกิดการเรียนรู้แนวทางในการปฏิบัติงานต่อไป
KM สำนักบริการวิชาการ
แจ้งผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ ประจำปีการศึกษา 2558
ประชุม: แจ้งผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ ประจำปีการศึกษา 25588
เป้าหมายของการจัดการความรู้: เพื่อให้มีบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ทุกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดจากการนำ KM มาปรับใช้กับการปฏิบัติงาน:เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ รวมถึงมีแนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงาน และเกิดการเรียนรู้แนวทางในการปฏิบัติงานต่อไป
การสร้างคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับบัณฑิตในคณะรัฐศาสตร์
การสร้างคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับบัณฑิตในคณะรัฐศาสตร์
1) วัตถุประสงค์
-เพื่อหล่อหลอมให้เกิดความผูกพันในชีวิตความเป็นนักศึกษา และประเมินผลการศึกษาแบบองค์รวมก่อนที่จะจบการศึกษาเป็นรัฐศาสตร์บัณฑิต
– เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ให้สอดคล้องกับทฤษฎีหรือวิชาการที่ได้ศึกษามา
– เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ทั้งภายนอกคือพฤตินิสัย กับภายในคือคุณธรรมและจริยธรรม สาหรับใช้ในการปฏิบัติตนและปฏิบัติหน้าที่
2) ใครคือนักรัฐศาสตร์ เช่น ผู้ที่มีอาชีพทางการเมือง การปกครอง การบริหาร ผู้ที่มางานเพื่อสังคมส่วนรวม ผู้ที่ต้องการพัฒนาตนให้เป็นผู้นำ
3) คุณธรรม/จริยธรรม ที่จำเป็นสำหรับนักรัฐศาสตร์
– แนวคลาสสิก -ความรู้ -ความซื่อสัตย์ -ความกล้าหาญ -ความยุติธรรม
– แนวพุทธ -ศีล 5 -นววาท -อิทธิบาท 4 -สังคหวัตถุ 4 -สัปปุริสธรรม 7 -พุทธวัจนะ -จักรวรรดิวัตร ทศพิธราชธรรม -พุทธธรรม
-แนวไทย -หลักอาวุโส -ความอ่อนน้อมถ่อมตน -ความกตัญญู -ความเมตตา -ความโอบอ้อมอารี -ความเป็นมิตร -ความสมถะ -ความมัธยัสถ์ -ความเพียร
– แนวสมัยใหม่ -การแข่งขัน –ความสำเร็จ -ความสุข -ความพอใจ -ความเป็นตัวของตัวเอง -ความเชื่อมั่น -ความทะเยอทะยาน -การเรียนรู้ -จิตอาสา
4) กิจกรรมทางรัฐศาสตร์ -กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ -กิจกรรมเตรียมความพร้อมในห้องเรียน-กิจกรรมวิชาการ -กิจกรรมเสริมการให้คำปรึกษา -การประเมินผล
5) ตัวอย่างการเชื่อมโยงคุณธรรมกับจริยธรรม คุณธรรม/จริยธรรม -กิจกรรม ความพร้อมเพียง/ความเป็นหมู่คณะ การนัดหมาย/การร่วมประชุม ระเบียบวินัย/ความร่วมมือ พิธีเปิด/พิธีปิด/กิจกรรมกลุ่มต่างๆ ความเสียสละ/จิตอาสา/จิตสาธารณะ การเลือกประธานกลุ่ม/การแบ่งงาน ความกล้าหาญ/ความเพียร/ความอดทน การแสดงออก/งานเดี่ยว/งานกลุ่ม ความรู้/ความสามารถ/ทักษะต่างๆ การประเมินผล/การสังเกต
แนวการปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย เรื่อง การเขียนงานวิจัยประเภทการวิจัยประยุกต์ที่มีคุณภาพ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
แนวการปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย เรื่อง การเขียนงานวิจัยประเภทการวิจัยประยุกต์ที่มีคุณภาพ
สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา
1) งานวิจัยคืออะไร เป็นเอกสารวิชาการที่ผู้วิจัยนาเสนอประเด็นที่มีความสำคัญ เป็นประโยชน์โดยมีระเบียบวิธีการศึกษาที่เป็นระบบ น่าเชื่อถือ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือนาไปแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
2) ประเภทงานวิจัยดูจากประโยชน์งานวิจัย งานวิจัยแบบพื้นฐาน (basic research)หรืองานวิจัยบริสุทธิ์ (pure research) ประยุกต์ (applied research)
3) ที่มาของงานเขียนวิจัยเชิงประยุกต์ที่มีคุณภาพ งานวิจัยต้องมีคุณภาพ – มีความสำคัญ เป็นประโยชน์ – มีโจทย์วิจัยชัดเจน – มีกรอบความคิด (conceptual framework) ที่ชัดเจน เหมาะสม – มีระเบียบวิธีการศึกษาที่เหมาะสม น่าเชื่อถือ – ผู้วิจัยหรือคณะวิจัยมีความรู้ ความสามารถเพียงพอ – มีการเก็บ รวบรวมข้อมูลที่น่าเชื่อถือ – มีการวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิด – มีข้อค้นพบที่ตอบโจทย์ได้ชัดเจน เป็นรูปธรรม นาไปปฏิบัติได้ ผู้วิจัยหรือคณะวิจัยมีต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่ศึกษามาก่อน และมีความสามารถในการวิจัย มีการเขียนงานวิจัยตามโครงมาตรฐานงานวิจัยที่ถูกต้อง
4) การเขียนงานวิจัยตามโครงมาตรฐานงานวิจัย
1) บทนำ – ความเป็นมาและความสำคัญของเรื่อง -โจทย์วิจัย -วัตถุประสงค์ -ขอบเขตการศึกษา -กรอบแนวคิดการศึกษา -ข้อจากัด -ระยะเวลาการศึกษา -ประโยชน์ที่คาดจะได้รับ
2) บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3) บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา -กลุ่มตัวอย่างและวิธีการสุ่มตัวอย่าง -เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย – การรวบรวมข้อมูล – การวิเคราะห์ข้อมูล – สถิติที่ใช้ในการวิจัย (กรณีวิจัยเชิงปริมาณ)
4) บทที่ 4 บทวิเคราะห์ ตอบโจทย์และวัตถุประสงค์ของการศึกษาให้ครบถ้วนโดยนาเสนอในแต่ละประเด็นให้ชัดเจน มีการวิเคราะห์และข้อมูลสนับสนุน
5) บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ – สรุปโจทย์ วัตถุประสงค์ ระเบียบวิธีการศึกษา และผลการวิเคราะห์ – นาข้อค้นพบในบทที่ 4 มาอภิปรายโดยเทียบกับแนวคิด ทฤษฎีหรืองานวิจัยที่สำรวจในบทที่ 2 -จัดทำข้อเสนอแนะบนพื้นฐานการวิเคราะห์ในบทที่ ๔ โดยอาจแยกเป็นข้อเสนอแนะเชิง นโยบาย และข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติว่าจะนาไปปฏิบัติอย่างไร และหน่วยงานใดควรนาไปดาเนินการ – ข้อเสนอแนะในการศึกษาต่อไป เป็นการเสนอประเด็นที่เกี่ยวเนื่องจากการศึกษาครั้งนี้ เพื่อให้มีการศึกษาในโอกาสต่อไป 3
5) ข้อควรคำนึงในการเขียนงานวิจัยเชิงประยุกต์ -เขียนงานวิจัยโดยไม่มีอคติ ไม่มีธงในการวิจัยมาก่อน -เขียนงานวิจัยบนพื้นฐานข้อมูลที่มีอยู่จากการเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์เท่านั้น -นาเสนอสาระสำคัญของคาตอบโจทย์วิจัย/วัตถุประสงค์วิจัย -เขียนงานวิจัยให้กระชับ ตรงไปตรงมา ไม่ใช้สานวนหรือถ้อยคาหรือบัญญัติศัพท์ใหม่ที่ยาก แก่การเข้าใจเพื่อแสดงภูมิปัญญาผู้วิจัยมากเกินไป -ไม่เขียนข้อเสนอแนะเกินไปจากข้อมูลที่วิเคราะห์หรือข้อค้นพบ -เขียนข้อเสนอแนะให้ชัดเจน เป็นรูปธรรมและสามารถนาไปปฏิบัติได้จริง
กาหนดการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ประจาปีการศึกษา 2558
ประชุม: กาหนดการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ประจาปีการศึกษา 2558
เป้าหมายของการจัดการความรู้: เพื่อให้มีบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ทุกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดจากการนำ KM มาปรับใช้กับการปฏิบัติงาน:เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ รวมถึงมีแนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงาน และเกิดการเรียนรู้แนวทางในการปฏิบัติงานต่อไป