ประเด็นความรู้
การเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการของหน่วยงายฝ่ายสนับสนุน
ประเด็นความรู้
การใช้ประโยชน์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการให้บริการของฝ่ายสนับสนุน
ประเด็นความรู้
การเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการของหน่วยงายฝ่ายสนับสนุน
ประเด็นความรู้
การใช้ประโยชน์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการให้บริการของฝ่ายสนับสนุน
การสอบถือเป็นมาตรการสำคัญที่มหาวิทยาลัยใช้รักษามาตรฐานคุณภาพการศึกษาและเป็นเครื่องมือสำคัญในการวัดความรู้อันเป็นผลการศึกษาของนักศึกษา ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญ 2 ประการ คือการมีแบบทดสอบที่มีคุณภาพตามหลักวิชาการและการดำเนินการสอบที่มีความยุติธรรมคู่มือการสอบกำหนดรูปแบบการจัดสอบตลอดจนแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการสอบ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่จะทำให้การดำเนินการสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพตามจุดประสงค์ของมหาวิทยาลัย
ศูนย์พัฒนาแบบทดสอบและการประเมินผล
08/05/60
การจัดสอบ
การสอบถือเป็นเครื่องมือในการรักษามาตรฐานการศึกษาเพื่อการวัดความรู้ของนักศึกษาที่จะสำเร็จ คือผ่านการศึกษาในรายวิชานั้น ดังนั้นคุณภาพของบัณฑิตจึงขึ้นกับคุณภาพของข้อสอบและการจัดการสอบที่มีความยุติธรรม กำหนดขั้นตอนที่รอบครอบรัดกุม มีวิธีการสอบที่น่าเชื่อถือเพียงพอที่จะแยกคนรู้และคนไม่รู้ออกจากกัน
การเตรียมการสอบ
ฝ่ายวิชาการเตรียมบุคลากร เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในด้านต่างๆ โดยเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการสอบอันประกอบด้วย ผู้อำนวยการสนามสอบ กรรมการกองกลาง กรรมการควบคุมการสอบ กรรมการระเบียบวินัย นักศึกษา และกำหนดวันเวลาในการปฏิบัติหน้าที่พร้อมทั้งแจ้งให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ได้ทราบรายละเอียดข้อกำหนดต่างๆ
การดำเนินการสอบ
ข้อมูลทั่วไปสำหรับการจัดสอบ
การสอบเป็นขั้นตอนสำคัญของการวัดผลการศึกษาอันเป็นหน้าที่ของครู อาจารย์ที่จะดำเนินการวัดผลการเรียนของนักศึกษาแต่ละคนอันจะเป็นเครื่องสะท้อนถึงผลการสอนด้วย การสอนจึงเป็นเครื่องมือแยกคนรู้ออกจากคนไม่รู้ ให้คนรู้สอบได้และให้คนไม่รู้สอบตก ดังนั้นครูอาจารย์ทุกท่านจึงต้องทำความตกลงกันเพื่อแบ่งหน้าที่กันทดสอบความรู้ของนักศึกษา บุคคลที่มีหน้าที่ในการดำเนินการสอบก็คือครูอาจารย์ทุกคน
ในการสอบแต่ละครั้งมหาวิทยาลัยจะแต่งตั้งบุคลากรตามความเหมาะสม ดังต่อไปนี้
1.1 ผู้อำนวยการสนามสอบ
1.2 กรรมการกองกลาง
1.3 กรรมการคุมสอบ
1.4 กรรมการระเบียบวินัยนักศึกษา
2.1 ห้องสอบขนาด 60 – 80 ตารางเมตร จัดที่นั่งสอบไม่เกิน 40 ที่นั่ง
2.2 ห้องสอบขนาด 81– 132 ตารางเมตร จัดที่นั่งสอบไม่เกิน 60 ที่นั่ง
2.3 ห้องสอบขนาดเกินกว่า 132 ตารางเมตร จัดที่นั่งสอบตามส่วน 1 ต่อ 2 ตารางเมตร
3.1 ผู้อำนวยการสนามสอบ สนามสอบละ 1 คน
3.2 กองกลาง สนามสอบที่ใช้ห้องสอบประมาณ 10 ห้อง จะมีเจ้าหน้าที่กองกลาง 5 คน (รวม เจ้าหน้าที่
ประชาสัมพันธ์ 1 คน) และ เจ้าหน้าที่กองกลางจะเพิ่มขึ้น 1 คน เมื่อจำนวนห้องสอบเพิ่มขึ้น 5 ห้อง เช่น สนาม
สอบที่ใช้ห้องสอบสูงสุด 15 ห้อง จะมีเจ้าหน้าที่กองกลาง 6 คน สนามสอบที่ใช้ห้องสอบสูงสุด 26 ห้อง จะมีเจ้า
หน้าที่กองกลาง 8 คน เป็นต้น
3.3 กรรมการคุมสอบ ห้องสอบ 1 ห้อง ใช้กรรมการคุมสอบ 2 คน เป็นหัวหน้าห้องสอบ 1 คน และเป็นเจ้า
หน้าที่คุมสอบ 1 คน
– ห้องสอบที่มีที่นั่งสอบไม่เกิน 60 ที่นั่ง ใช้กรรมการคุมสอบ 2 คน เป็นหัวหน้าห้องสอบ 1 คน และเป็น
เจ้าหน้าที่คุมสอบ 1 คน
– จัดที่นั่งสอบเกินกว่า 60 ที่นั่ง ให้เพิ่มเจ้าหน้าที่ 1 คน ต่อผู้ข้าสอบ 20 คน
3.4 กรรมการระเบียบวินัยนักศึกษา ประกอบด้วยหัวหน้า 1 คน และกรรมการอาคาร 1 คน
หน้าที่และขั้นตอนการปฏิบัติงานของบุคลากร
ผู้อำนวยการสนามสอบ
หน้าที่ของผู้อำนวยการสนามสอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติงานผู้อำนวยการสนามสอบ
จัดให้มีห้องกองกลางซึ่งตั้งอยู่ในจุดซึ่งเป็นศูนย์กลางของสนามสอบ ต้องกว้างขวางพอที่จะใช้เป็นที่ประสานงานการสอบ เมื่อได้รับบัญชีรายชื่อผู้เข้าสอบหมายเลขห้องสอบ และระเบียบมหาวิทยาลัยเจ้าพระยาว่าด้วยการสอบ จากสำนักงานทะเบียนและวัดผลแล้ว ก็จะต้องมอบหมายให้มีการติดรายชื่อผู้เข้าสอบหน้าห้องสอบ โดยต้องติดรายชื่อผู้เข้าสอบให้ตรงตามห้องสอบที่กำหนดไว้ และติดระเบียบว่าด้วยการสอบฯ ไว้หน้าห้องสอบทุกห้อง เพื่อเป็นการเตือนย้ำให้ผู้เข้าสอบปฏิบัติตามจัดให้มีห้องพยาบาลสำหรับผู้เข้าสอบที่ป่วยอย่างปัจจุบันทันด่วน จัดให้มีการเก็บแบบทดสอบให้มิดชิดปลอดภัย
กรรมการกองกลาง
หน้าที่ของกรรมการกองกลาง
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของกรรมการกองกลาง
กรรมการคุมสอบ
หน้าที่ของกรรมการคุมสอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของกรรมการคุมสอบ
เริ่มสอบเวลา……..น. หมดเวลา………น.
คู่มือดำเนินการสอบ
การสอบถือเป็นมาตรการสำคัญที่มหาวิทยาลัยใช้รักษามาตรฐานคุณภาพการศึกษาและเป็นเครื่องมือสำคัญในการวัดความรู้อันเป็นผลการศึกษาของนักศึกษา ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญ 2 ประการ คือการมีแบบทดสอบที่มีคุณภาพตามหลักวิชาการและการดำเนินการสอบที่มีความยุติธรรมคู่มือการสอบกำหนดรูปแบบการจัดสอบตลอดจนแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการสอบ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่จะทำให้การดำเนินการสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพตามจุดประสงค์ของมหาวิทยาลัย
การจัดสอบ
การสอบถือเป็นเครื่องมือในการรักษามาตรฐานการศึกษาเพื่อการวัดความรู้ของนักศึกษาที่จะสำเร็จ คือผ่านการศึกษาในรายวิชานั้น ดังนั้นคุณภาพของบัณฑิตจึงขึ้นกับคุณภาพของข้อสอบและการจัดการสอบที่มีความยุติธรรม กำหนดขั้นตอนที่รอบครอบรัดกุม มีวิธีการสอบที่น่าเชื่อถือเพียงพอที่จะแยกคนรู้และคนไม่รู้ออกจากกัน
การเตรียมการสอบ
ฝ่ายวิชาการเตรียมบุคลากร เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในด้านต่างๆ โดยเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการสอบอันประกอบด้วย ผู้อำนวยการสนามสอบ กรรมการกองกลาง กรรมการควบคุมการสอบ กรรมการระเบียบวินัย นักศึกษา และกำหนดวันเวลาในการปฏิบัติหน้าที่พร้อมทั้งแจ้งให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ได้ทราบรายละเอียดข้อกำหนดต่างๆ
การดำเนินการสอบ
ข้อมูลทั่วไปสำหรับการจัดสอบ
การสอบเป็นขั้นตอนสำคัญของการวัดผลการศึกษาอันเป็นหน้าที่ของครู อาจารย์ที่จะดำเนินการวัดผลการเรียนของนักศึกษาแต่ละคนอันจะเป็นเครื่องสะท้อนถึงผลการสอนด้วย การสอนจึงเป็นเครื่องมือแยกคนรู้ออกจากคนไม่รู้ ให้คนรู้สอบได้และให้คนไม่รู้สอบตก ดังนั้นครูอาจารย์ทุกท่านจึงต้องทำความตกลงกันเพื่อแบ่งหน้าที่กันทดสอบความรู้ของนักศึกษา บุคคลที่มีหน้าที่ในการดำเนินการสอบก็คือครูอาจารย์ทุกคน
ในการสอบแต่ละครั้งมหาวิทยาลัยจะแต่งตั้งบุคลากรตามความเหมาะสม ดังต่อไปนี้
1.1 ผู้อำนวยการสนามสอบ
1.2 กรรมการกองกลาง
1.3 กรรมการคุมสอบ
1.4 กรรมการระเบียบวินัยนักศึกษา
2.1 ห้องสอบขนาด 60 – 80 ตารางเมตร จัดที่นั่งสอบไม่เกิน 40 ที่นั่ง
2.2 ห้องสอบขนาด 81– 132 ตารางเมตร จัดที่นั่งสอบไม่เกิน 60 ที่นั่ง
2.3 ห้องสอบขนาดเกินกว่า 132 ตารางเมตร จัดที่นั่งสอบตามส่วน 1 ต่อ 2 ตารางเมตร
3.1 ผู้อำนวยการสนามสอบ สนามสอบละ 1 คน
3.2 กองกลาง สนามสอบที่ใช้ห้องสอบประมาณ 10 ห้อง จะมีเจ้าหน้าที่กองกลาง 5 คน (รวม เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ 1 คน) และ เจ้าหน้าที่กองกลางจะเพิ่มขึ้น 1 คน เมื่อจำนวนห้องสอบเพิ่มขึ้น 5 ห้อง เช่น สนามสอบที่ใช้ห้องสอบสูงสุด 15 ห้อง จะมีเจ้าหน้าที่กองกลาง 6 คน สนามสอบที่ใช้ห้องสอบสูงสุด 26 ห้อง จะมีเจ้าหน้าที่กองกลาง 8 คน เป็นต้น
3.3 กรรมการคุมสอบ ห้องสอบ 1 ห้อง ใช้กรรมการคุมสอบ 2 คน เป็นหัวหน้าห้องสอบ 1 คน และเป็นเจ้าหน้าที่คุมสอบ 1 คน
– ห้องสอบที่มีที่นั่งสอบไม่เกิน 60 ที่นั่ง ใช้กรรมการคุมสอบ 2 คน เป็นหัวหน้าห้องสอบ
1 คน และเป็นเจ้าหน้าที่คุมสอบ 1 คน
– จัดที่นั่งสอบเกินกว่า 60 ที่นั่ง ให้เพิ่มเจ้าหน้าที่ 1 คน ต่อผู้ข้าสอบ 20 คน
3.4 กรรมการระเบียบวินัยนักศึกษา ประกอบด้วยหัวหน้า 1 คน และกรรมการอาคาร 1 คน
หน้าที่และขั้นตอนการปฏิบัติงานของบุคลากร
ผู้อำนวยการสนามสอบ
หน้าที่ของผู้อำนวยการสนามสอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติงานผู้อำนวยการสนามสอบ
จัดให้มีห้องกองกลางซึ่งตั้งอยู่ในจุดซึ่งเป็นศูนย์กลางของสนามสอบ ต้องกว้างขวางพอที่จะใช้เป็นที่ประสานงานการสอบ เมื่อได้รับบัญชีรายชื่อผู้เข้าสอบหมายเลขห้องสอบ และระเบียบมหาวิทยาลัยเจ้าพระยาว่าด้วยการสอบ จากสำนักงานทะเบียนและวัดผลแล้ว ก็จะต้องมอบหมายให้มีการติดรายชื่อผู้เข้าสอบหน้าห้องสอบ โดยต้องติดรายชื่อผู้เข้าสอบให้ตรงตามห้องสอบที่กำหนดไว้ และติดระเบียบว่าด้วยการสอบฯ ไว้หน้าห้องสอบทุกห้อง เพื่อเป็นการเตือนย้ำให้ผู้เข้าสอบปฏิบัติตามจัดให้มีห้องพยาบาลสำหรับผู้เข้าสอบที่ป่วยอย่างปัจจุบันทันด่วน จัดให้มีการเก็บแบบทดสอบให้มิดชิดปลอดภัย
กรรมการกองกลาง
หน้าที่ของกรรมการกองกลาง
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของกรรมการกองกลาง
กรรมการคุมสอบ
หน้าที่ของกรรมการคุมสอบ
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของกรรมการคุมสอบ
หัวหน้าห้องสอบตรวจความเรียบร้อย เชิญผู้เข้าห้องสอบเข้าห้องสอบได้ (ก่อนเวลาสอบ 15 นาที) กรรมการคุมสอบต้องยืนที่ประตูห้องเพื่อช่วยแนะนำให้ผู้เข้าสอบหาที่นั่งได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว และคอยตรวจดูมิให้ผู้เข้าสอบนำเอกสาร ตำรา ฯลฯ เข้าห้องสอบ ผู้เข้าสอบที่ไม่มีบัตรประจำตัวนักศึกษา ห้ามเข้าห้องสอบอย่างเด็ดขาด นอกจากผู้ที่มีบัตรเข้าสอบ ผู้ที่มีปัญหาเรื่องบัตรประจำตัวนักศึกษาให้ไปติดต่อที่สำนักงานทะเบียนและวัดผล
1. กรรมการคุมสอบแจกกระดาษคำตอบแก่ผู้เข้าสอบ
2. ขณะที่กรรมการคุมสอบแจกกระดาษคำตอบ หัวหน้าห้องสอบกำชับว่า “ห้ามขีดเขียนอะไรลงบนกระดาษคำ ตอบก่อนที่จะมีการชี้แจง”
3. เจ้าหน้าที่คุมสอบแจกแบบทดสอบแก่ผู้เข้าสอบโดยแจกคว่ำหน้าลง แจกเฉพาะผู้ที่มาสอบ หัวหน้าห้องสอบ
กำชับว่า “ห้ามแกะลวดเย็บกระดาษทางขวาของแบบทดสอบก่อนสัญญาณลงมือสอบให้ฟังคำชี้แจงก่อน” หัวหน้าห้องสอบคอยระวังอย่าให้ผู้เข้าสอบฝ่าฝืนคำสั่งอย่างเด็ดขาด แล้วหัวหน้าห้องสอบชี้แจงราย ละเอียดเกี่ยวกับ การสอบ ดังนี้
เริ่มสอบเวลา……..น. หมดเวลา………น.